ผู้สูงอายุได้รับผลจากการระบาทจากการแพร่เชื้อโรค โครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์เพิ่มสุข ภาคเอกชนจึงเกิดขึ้น บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด และบริษัทในเตรือ จึงร่วมกันก่อสร้างโครงการขึ้นมา
บทสรุป ดร.สมัย เหมมั่น บริหาร
ได้ว่า วิชาเศรษฐศาสตร์มิใช่วิชาที่โดดเดี่ยว ผู้ที่ศึกษาวิชา วิชาเศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อนำมาผลิตสินค้าและบริการให้ได้มากที่สุด เพื่อนำมาตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จำกัด แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์มีมาช้านานแล้วตั้งแต่ศตวรรษที่ 13 โดยสอดแทรกอยู่ในความเชื่อถือและปรัชญา ต่อมาจึงได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จนรู้จักกันอย่างแพร่หลาย เพราะเป็นหลักการที่นำมาใช้ในชีวิตประจำวันอยู่อย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งผู้บริโภค ผู้ผลิต และรัฐบาล เศรษฐศาสตร์มี 2 แขนง ได้แก่
เศรษฐศาสตร์จุลภาค ซึ่งเป็นการศึกษาถึงระบบเศรษฐกิจส่วนย่อยๆแต่ละบุคคล เช่น การผลิต การจำหน่าย การซื้อขายแลกเปลี่ยนในแต่ละวัน และเศรษฐศาสตร์มหภาค ซึ่งเป็นการศึกษาถึงระบบเศรษฐกิจส่วนรวมระดับประเทศ เช่น การศึกษารายได้ประชาชาติ คือศึกษาถึงรายได้ของประชาชนทั่วประเทศ หรือ ศึกษาถึงภาวะการลงทุน การว่างงาน ภาวะการเงินต่าง ๆ นอกจากนั้นเศรษฐศาสตร์ยังมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น ๆ เช่น บริหารธุรกิจ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ จิตวิทยา ดังนั้น การศึกษาเศรษฐศาสตร์จึงทำให้เข้าใจถึงระบบเศรษฐกิจ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยการผลิตสินค้า เพื่อนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันให้เกิดความคุ้มค่าและประโยชน์สูงสุด มีผลต่อการเขียนแผนธุรกิจ ซีเนี่ยร์ตอมเพล็กซ์ ไทยเพิ่มสุข จะบรรยายเพิ่มเติมในภายหลังเศรษฐศาสตร์กับบริหารธุรกิจ : บริหารธุรกิจเป็นวิชาที่มีความสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์อยู่มาก ถึงแม้ว่าในภาคส่วนของบริหารธุรกิจจะมีเป้าหมายสูงสุดที่การผลิตเพื่อเสียต้นทุนต่ำที่สุดนำไปสู่การได้กำไรสูงสุด ซึ่งนักธุรกิจโดยส่วนใหญ่หากมีความเข้าใจในเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นองค์รวมแล้วจะสามารถคาดการณ์แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจในอนาคตได้ว่าจะไปในทิศทางใด และนำไปสู่กำหนดเป้าหมายในการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจ ส่วนในการกำหนดเป้าหมายนโยบายทางเศรษฐกิจย่อมมีผลเขื่อมโยงกับภาคส่วนของธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น หากในส่วนของเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจกับหน่วยธุรกิจมีการเชื่อมโยงสอดประสานเกื้อหนุนซึ่งกันและกันแล้ว ก็จะทำให้การขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อพึงสังเกต การบริหารเมนูนโยบายเศรษฐกิจและการบริหารธุรกิจ หลาย ๆ ท่านอาจคิดว่ามีความคล้ายและสามารถนำเอาหลักการการบริหารธุรกิจมาใช้กับการกำหนดและบริหารจัดการเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิผล ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ตรรกะในการบริหารนโยบายทางเศรษฐกิจและการบริหารธุรกิจ ก็มีเป้าหมายสูงสุดเพื่อให้เศรษฐกิจมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง และการเจริญเติบโตของธุรกิจ เพื่อให้บรรลุถึงการอยู่ดีกินดีของประชาชนและการอยู่ดีกินดีของเจ้าของธุรกิจ แต่ในทางปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุซึ่งเป้าหมายดังกล่าวของการบริหารเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจและการบริหารธุรกิจนั้น ปรัชญาในการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมัก จะทำตรงกันข้าม กับการบริหารธุรกิจอย่างสิ้นเชิง
กรณีที่ ๑ ในภาวะเศรษฐกิจปกติ (เศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่อง) พฤติกรรมส่วนใหญ่ของภาคเอกชนในภาวะเศรษฐกิจปกติ (เศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่อง) เนื่องจากว่า เป็นภาวะที่ภาคเอกชนต้องการฉกฉวยโอกาสในผลประโยชน์จากสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุซึ่งปรัชญากำไรสูงสุด โดยมีการลงทุนเพิ่มขึ้นในภาคธุรกิจ รวมทั้งมีการบริโภคเพิ่มขึ้นในภาคครัวเรือน ดังนั้น ภาครัฐจึงต้องคอยดูแลระบบเศรษฐกิจเพื่อไม่ให้เศรษฐกิจขยายตัวร้อนแรงเกินไป (overheating) โดยการดำเนินนโยบายผ่านกลไกทางด้านนโยบายการคลัง นโยบายการเงิน และนโยบายการเงินระหว่างประเทศ ในภาวะปกติการบริหารและจัดการนโยบายเศรษฐกิจ ผู้ที่มีอำนาจและหน้าที่ต้องตระหนักถึง พฤติกรรมของภาคเอกชน โดยส่วนใหญ่ก่อน เพราะภาครัฐมีหน้าที่หลักที่สำคัญในการที่จะบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจ เพื่อให้ สังคมโดยส่วนรวมบรรลุถึงการเจริญเติบโตแบบยั่งยืน หรือการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ เพื่อลดทอนความเสี่ยงของการนำไปสู่ภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจ และการเจริญเติบโตที่ไม่สมเหตุสมผลกับภาวะพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (การเจริญเติบโตที่เกิดจากภาวะฟองสบู่) รวมทั้งการเจริญเติบโตที่เพิ่มอัตราเร่งให้เกิดช่องว่างระหว่างรายได้ทางสังคมที่สูงขึ้น
ดังนั้นภาครัฐต้องตระหนักและเข้าใจพฤติกรรมรากเหง้าทางสังคมเศรษฐกิจของภาคเอกชนโดยส่วนใหญ่ในระบบเศรษฐกิจเสรีทุนนิยมก่อน เพื่อนำไปสู่การดำเนินเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจเพื่อนำไปสู่จุดที่สังคมปรารถนาร่วมกัน
คือ การเจริญเติบโตแบบยั่งยืน หรือการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ในภาวะเศรษฐกิจปกติพฤติกรรมโดยส่วนใหญ่ในการบริโภคและการลงทุนของภาคเอกชนจะขยายตัวเป็นอย่างมาก ซึ่งภาวะดังกล่าวเป็นสิ่งที่ดีในระบบเศรษฐกิจ เนื่องจาก GDP ขยายตัวเพิ่มขึ้น แต่ สิ่งที่ภาครัฐต้องต้องคำนึงถึงเป็นประเด็นสำคัญในการบริหารนโยบายเศรษฐกิจ ก็คือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจดังกล่าวนั้น มีแนวโน้มนำไปสู่ภาวะฟองสบู่ โดยภาคเอกชนจะเพิ่มการลงทุนเพื่อขยายกิจการอย่างต่อเนื่อง
กรณีที่ ๒ ภาวะเศรษฐกิจเจ็บป่วย : วิกฤติเศรษฐกิจ (เศรษฐกิจถดถอยและตกต่ำ) ในภาวะที่เศรษฐกิจชะลอตัวและตกต่ำนั้น พฤติกรรมโดยส่วนใหญ่ของภาคเอกชนจะลดการลงทุนและลดต้นทุนทุกอย่างที่สามารถจะลดได้เพื่อให้ธุรกิจของตนเองอยู่ได้ในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ รวมทั้งภาคครัวเรือนก็จะลดการบริโภคลงมาด้วย ดังนั้น ภาครัฐต้องทำสิ่งดังกล่าวที่ขาดหายไปในระบบเศรษฐกิจแทนภาคเอกชนเพื่อที่จะทำให้เกิดการจ้างงาน โดยการดำเนินเมนูนโยบายที่เอื้อต่อการเพิ่มปริมาณเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจผ่านทางกลไกของนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง และนโยบายการเงินระหว่างประเทศ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ในภาวะเกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจ การบริหารเมนูนโยบายเศรษฐกิจนั้นต้องมุ่งเน้นไปที่การกระตุ้นเศรษฐกิจเป็นสำคัญโดยการ เพิ่มปริมาณเงิน เข้าไปในระบบเศรษฐกิจก่อนโดยผ่านเครื่องมือและกลไกทางด้านนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง และนโยบายการเงินระหว่างประเทศ และโดยส่วนใหญ่ในภาวะวิกฤตินี้ เมนูนโยบายการคลังในภาคส่วนของการใช้จ่ายภาครัฐ ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากก่อให้เกิดผลรวดเร็ว เปรียบเสมือนคนป่วยใกล้จะตาย หมอต้องเลือกช่วยชีวิตคนป่วยก่อนเป็นอันดับแรก เช่น การปั้มหัวใจ ซึ่งก็เปรียบเสมือนการเพิ่มปริมาณเงินเข้าไปในระบบก่อนเป็นลำดับแรก เนื่องจากในภาวะดังกล่าว ภาคเอกชนจะลดการลงทุนและการบริโภค เพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจ ภาครัฐจึงไม่ควรดำเนินเมนูนโยบายทางเศรษฐกิจอันก่อให้เกิดการหดตัวทางเศรษฐกิจ เฉกเช่นภาคเอกชน เพราะจะยิ่งทำให้เศรษฐกิจหดตัวรุนแรงไปอีก ภาครัฐจึงควรดำเนินนโยบายที่ไปเอื้อต่อการเพิ่มปริมาณเงินเข้าไปสู่ระบบเศรษฐกิจ อาจกล่าวได้ว่าแนวความคิดในการบริหารเมนูนโยบายเศรษฐกิจกับการบริหารธุรกิจมักจะ “ทำตรงกันข้าม” เมื่อเผชิญกับภาวะต่าง ๆ ในเศรษฐกิจ
โครงสร้างระบบสาธารณะสุข และการเป็นลักษณะที่อยู่
อาศัย การวางแผนการอยู่อาศัยในวัยสูงอายุหรือวัยหลังเกษียณ จากการทำงานที่ต้องวางแผนการอยู่อาศัยแบบจริงจังในการใช้ชีวิต
ในปี พ.ศ. 2562-64 เป็นปี่ที่ประเทศไทยและทั่วโลกได้รับผลกระทบเรื่องโรคระบาตร หรือการแพร่เชื่อ ของไวรัส โควิท 19 ที่มีผลกระทบเป็นอย่างมาก ผลคือ
1.ผู้สูงอายุได้รับผลจากการระบาทจากการแพร่เชื้อโรค ประเทศไทย ผู้สูงอายุ ป่วยเพราะผลการแพร่เชื้อ จำนวน 10,000 คน และเสียชีวิต จำนวน 60 ราย ของจำนวนผู้สูงอายุไทยที่ติดเชื้อ
2.ผู้สูงอายุทั่วโลก ติดเชื้อ จำนวน 108 ล้าน คน และเสียชีวิตจำนวน มากถึง 2.3 ล้านคน ดังสถิติดังนี้
สาเหตุที่ได้รับการติดเชื้อ ดังนี้
1.ไม่มีภูมิป้องกันโรค
2.ไม่มีที่ อยู่อาศัยที่สามารถป้องกันเชื้อโรคได้
3.ไม่ให้ความรู้และวิธีการป้องกันเบื้องต้นได้
4.รัฐบาลแต่ละประเทศไม่มีงบประมาณในการป้องกัน
5.รัฐบาลไม่จำแนกคัดแยกคนที่ติดเชื่อ
6.รัฐบาลไม่มีที่อาศัยที่มีคุณภาพเพื่ออยู่อาศัยที่ดี
7.ผู้สูงอายุ ทุกคนไม่ได้วางแผนการอยู่อาศัยที่ดี ซึ่งเป็นหน้าที่ของคนทุกคนที่ต้องร่วมมือกันในการดำรงอยู่ในสังคมที่ดีต่อกัน
วิธีการป้องกัน ในกรณีดังกล่าว
ดร.สมัย เหมมั่น ได้คิด
โครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์เพื่อสมาชิก องค์กร และประชาชนผู้ยากไร้ตลอดจนข้าราชการ ทุกๆคน เพื่อวางแผนการใช้ชีวิต ในวัยสูงอายุ ต้นเหตุของปัญหา จึงเกิดโครงการขึ้นมาเพื่อรองรับ กับปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต จนในวันนี้ มันเกิดขึ้นมาแล้ว และอาจร้ายแรงกว่านี้ จึงขอให้ทุกท่านทราบว่า เราควรป้องกันปัญหาที่จะเกิดและร่วมมือที่จะป้องกันปัญหาที่จะเกิดมาในวันต่อๆไป และคาดหวังว่าโครงการดักล่าวจะได้การต้อนรับหรือตอบรับการสมาชิก เป็นอย่างดีตลอดไปและทั้งนี้ทางคณะบริหารทุกท่าน มีความพร้อมที่จะให้บริการเป็นอย่างอดี และมีคุณภาพ จึงจัดโครงการที่ดีมาไว้ให้สมาชิก ฯ
ข่าวสารการติดเชื้อทั่วโลก ดังนี้
วันนี้ (15 กุมภาพันธ์) ทางการญี่ปุ่นอนุมัติการใช้งานวัคซีนต้านโควิด-19 Pfizer-BioNTech เป็นกรณีฉุกเฉินแล้ว นับเป็นวัคซีนต้านโควิด-19 ตัวแรกของประเทศที่ทางการอนุมัติเพื่อเสริมมาตรการรับมือโรคระบาดภายในญี่ปุ่น หลังวัคซีนล็อตแรกราว 4 แสนโดสขนส่งจากเบลเยียมถึงกรุงโตเกียวเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา
โดยวัคซีนจาก Pfizer-BioNTech เป็นวัคซีนประเภท Genetic Vaccines ที่ใช้ mRNA เช่นเดียวกับ Moderna มีประสิทธิภาพในการต้านโควิด-19 สูงถึง 95% ทั้งยังเป็นวัคซีนตัวแรกที่ได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลก และได้รับการอนุมัติให้ใช้ในหลายประเทศที่สุดในช่วงเวลานี้ ฉีดทั้งหมด 2 เข็ม ห่างกัน 3 สัปดาห์ จัดเก็บที่อุณหภูมิ -70 องศาเซลเซียส
ล่าสุด ญี่ปุ่นมีผู้ติดเชื้อสะสมแล้วราว 4.16 แสนราย เสียชีวิตแล้วราว 7,000 ราย ขณะที่ทั่วโลกมีผู้ติดเชื้อโควิด-19 สะสมแล้วกว่า 108 ล้านราย (108,782,607 ราย) รักษาหายแล้ว 81,469,728 ราย หรือคิดเป็นราว
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น